Thailand Excellence Community
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติพงษ์ เยาวาจา
มาดูกัน… โปรเจคเครื่องล้างโรงเรือนสุกร(Pig Farm Washing) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
การออกแบบเครื่องฉีดล้างโรงเรือนสุกร
Design of pig farm washing machine
โดย
นาย ภานุพงษ์ เขียวหวาน
นาย ภานุพงษ์ เขียวหวาน เลขประจำตัว 5930301492
นาย ศักดินา สมัครการ เลขประจำตัว 5930301620
นาย ศิวกร สรรพวุธ เลขประจำตัว 5930301646
โครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
อาจารย์ทีปรึกษา อาจารย์ ผศ.ดร.กิตติพงษ์ เยาวาจา
คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อนุมัติให้โครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของ การศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต
………………………………………………………….. อาจารย์ที่ปรึกษา
(อาจารย์ ผศ.ดร.กิตติพงษ์ เยาวาจา)
ชื่อโครงงาน การออกแบบเครื่องฉีดล้างโรงเรือนสุกร
โดย นาย ภานุพงษ์ เขียวหวาน เลขประจำตัว 5930301492
นาย ศักดินา สมัครการ เลขประจำตัว 5930301620
นาย ศิวกร สรรพวุธ เลขประจำตัว 5930301646
ชื่อปริญญา วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต
สาขาวิชา วิศวกรรมเครื่องกล
ปีการศึกษา 2562
อาจารย์ทีปรึกษา อาจารย์ ผศ.ดร.กิตติพงษ์ เยาวาจา
บทคัดย่อ
โครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์หลัก เพื่อออกแบบเครื่องฉีดล้างโรงเรือนสุกร เป็นการออกแบบ เครื่องฉีดล้างทำความสะอาดแทนมนุษย์ เพื่อลดเวลาในการปฏิบัติงาน ซึ่งต้องออกแบบวงจรควบคุม มอเตอร์ส่งกำลังเพื่อใช้ในการขับเคลื่อนและออกแบบวงจรควบคุมมอเตอร์กลไกกระดกหัวฉีดน้ำ ออกแบบวงจรควบคุมรีเลย์เพื่อใช้ในการสั่งงานเปิด–ปิด โซลินอยด์วาล์ว ออกแบบกลไกที่ใช้ในการ กระดกหัวฉีดน้ำเพื่อเปลี่ยนองศาในการฉีดน้ำจากมุม 0 ถึง 90 องศา โดยออกแบบเครื่องฉีดเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในการทำความสะอาดอีกทั้งยังสามารถลดความเสี่ยงของบุคลากรที่เข้าไปทำความ สะอาดรวมถึงเชื้อโรคต่าง ๆ ที่จะเข้าไปสู่โรงเรือนสุกร โดยเครื่องฉีดสามารถขับเคลื่อนได้ 2 ทิศทาง จะเคลื่อนที่ไปตามแนวทางเดินตรงกลางของโรงเรือนสุกรและจะทำการฉีดน้ำเพื่อล้างทำความสะอาด ภายในคอกของสุกรในแต่ละคอก โดยที่ผู้ใช้จะสามารถจัดการ ฮาร์ดแวร์ได้อย่างง่ายดายอาทิ เช่น การรับอินพุต การส่งเอาท์พุตของไมโครคอนโทรลเลอร์ เพื่อให้เครื่องฉีด ฉีดน้ำอัตโนมัติ และเคลื่อนที่ ไปยังตำแหน่งที่ต้องการและทำความสะอาด โดยในการเคลื่อนที่แต่ละช่วงจะถูกกำหนดระยะทางไว้ ให้เคลื่อนที่ไว้ที่ 10 เซนติเมตร ซึ่งเครื่องฉีดอัตโนมัติจะทำงานตามที่ได้โปรแกรมเอาไว้ จากผลการ ทดลองพบว่า เครื่องฉีดน้ำทำความสะอาดโรงเรือนสุกรสามารถทำงานได้ตามที่ได้ที่เขียนกำหนดลงไว้ บนโปรแกรม โดยสามารถเคลื่อนที่ได้ตามระยะทางที่กำหนดไว้แต่มีความคลาดเคลื่อนของระยะทาง เพียงเล็กน้อย และในส่วนของปั๊มน้ำทั้งสองข้างสามารถดูดน้ำเข้าและส่งน้ำออกไปยังในส่วนของหัวฉีด ได้ แต่พบปัญหาว่าอุปกรณ์ได้เกิดการชำรุดหรือเกิดการรั่วของตัวโซลินอยด์วาล์วและสายฉีดไฮดรอ– ลิคซึ่งอาจแก้ไขได้โดยการเปลี่ยนวัสดุอุปกรณ์ให้มีคุณภาพและความสามารถในการทำงานที่ดีขึ้น
Title Design of pig farm washing machine
Name Mr.Panupong Keawwan 5930301492
Mr.Sakdina Samakkan 5930301620
Mr.Siwakorn Suppavut 5930301646
Degree Award Bachelor of Engineering
Study Program Mechanical Engineering
Academic Year 2562
Project Advisor Dr.Kittipong Yaovaja
Abstract
The main reason of project is design the Pig Farm Washing Machine .This project created for reduce operator of cleaning and reduce time .We have to design operation of tranmission motor ,stepping motor and dc motor which to work with mechanism to control nozzle. Design operation of relay to on-off nozzle .Design mechanism to change degree of nozzle from 0 degree to 90 degree .To enhance efficiency of cleaning and to reduce the risk from disease in this dome. The Pig Farm Washing Machine can drive 2 directions ,move forward and backward .The Pig Farm Washing Machine will move along in center corridor of dome .We can control it with remote for check all system of Pig Farm Washing Machine .Whether moving , on-off solenoid and change degree of nozzle .The moving range will be determine about 10 centimeter .The Pig Farm Washing Machine will work as specified in the LabVIEW program .When we finished experiment .Our Project can do as I controled . But it has an few error of distance .And pump can make a pressure to nozzle for cleaning .But we met the problem form solenoid and high pressure line hose.
สารบัญ
บทนำ .
ที่มาและความสำคัญ .
วัตถุประสงค์
ขอบเขตของโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
โปรแกรม LabVIEW
ส่วนประกอบต่าง ๆ ของ LabVIEW
คำศัพท์ต่างๆที่ใช้กันใน LabVIEW
ประเภทของข้อมูล
หลักการทำงานของ Dataflow Programming
ภาพรวมของระบบ DAQ บน PC
Micro USB–DAQ Acquisition
มอเตอร์กระแสตรง
หลักการทำงานของมอเตอร์
คุณสมบัติทั่วไป
เอ็นโค้ดเดอร์
เอ็นโค้ดเดอร์
ประเภทของเอ็นโค้ดเดอร์
วิธีการเลือก encoder ให้เหมาะสม
โซลินอยล์วาล์ว
ปั๊มน้ำแรงดันสูงแบบลูกสูบและเป็นระบบมอเตอร์เหนี่ยวนำ
ปั๊มน้ำแรงดันสูงแบบลูกสูบ
ระบบมอเตอร์เหนี่ยวนำ
โซ่ส่งกำลัง
ชนิดของโซ่
เฟือง
เฟืองตรง (Spur Gears)
เฟืองสะพาน (Rack Gears)
เฟืองวงแหวน (Internal Gears)
เฟืองเฉียง (Helical Gears)
เฟืองเฉียงก้างปลา (Herringbone Gears)
เฟืองดอกจอก (Bevel Gears)
เฟืองตัวหนอน (Worm Gears)
เฟืองเกลียวสกรู (Spiral Gears)
Switching Power Supply
ความเป็นมาของ Power Supply
หลักการทำงาน Switching Power Supply
ประเภทของ Switching Power Supply
มอเตอร์สเต็ป
หลักการทำงานของ Stepping Motor
วิธีการเลือก Stepping Motor
รีเลย์
General Relay
Timer Relay
Solid State
Protection Relay
อุปกรณ์และวิธีการ
ขั้นตอนการออกแบบ
ขั้นตอนการลงมือปฏิบัติ
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรม
ผลการทดลอง
ขั้นตอนการทำงานของกระบวนการ
ผลการทดลอง
ตัวอย่างผลการทดลอง
ปัญหาที่พบในการทดลองนี้
สรุปผลการทดลอง
สรุป
ข้อเสนอแนะ
เอกสารอ้างอิง
ภาคผนวก
โครงสร้างของเครื่อง
ภาคผนวก ข.
ภาพรวมของโปรแกรม
โปรแกรมของมอเตอร์ 500 วัตต์
โปรแกรมของมอเตอร์ 65 วัตต์
โปรแกรมของสเต็ปมอเตอร์
โปรแกรมของรีโมทบังคับ
โปรแกรมของระบบการทำงาน
สารบัญรูปภาพ
Figure 1 แสดงตัวอย่างเครื่องมือวัดเสมือนที่สร้างจาก LabVIEW
Figure 2 แสดงหน้าจอการเขียนโปรแกรมและหน้าจอแสดงผล
Figure 3 แสดง Block Diagram ของ LabVIEW
Figure 4 Block Diagram เครื่องมือวัดที่สร้างจาก LabVIEW
Figure 5 Front Panel ของ LabVIEW
Figure 6 Object ที่อยู่บน Front Panel ของ LabVIEW
Figure 7 Controls Palette ที่ใช้ในการออกแบบ Front Panel
Figure 8 Tools Palette ที่ใช้ในการออกแบบ Front Panel
Figure 9 ตัวอย่าง Block Diagram
Figure 10 ตัวอย่าง Block Diagram Node
Figure 11 เครื่องมือสำหรับ Dam–Data Acquisition Tools Palette สำหรับ Block diagram
Figure 12 แสดงลักษณะทั่วไปของ Icon และ Connector
Figure 13 ส่วนประกอบของระบบ DAQ
Figure 14 Grounded Source
Figure 15 Floating Source
Figure 16 วงจร Micro USB-Data Acquisition Card
Figure 17 ภาพเอ็นโค้ดเดอร์
Figure 18 ภาพแสดงสัญญาณพัลส์ที่เกิดจาก Incremental Rotary Encoder
Figure 19 ภาพแสดงสัญญาณเอาท์พุตแบบรหัส Binary จำนวน 4 บิต ของ Absolute Encoder
Figure 20 ภาพแสดงสัญญาณเอาท์พุตแบบรหัส Gray จำนวน 4 บิต ของ Absolute Encoder
Figure 21 ภาพการทำงานเบื้องต้นของโซลินอยด์วาล์ว
Figure 22 ระบบเปิดปิดโดยตรง (Direct Acting หรือ Direct Operated)
Figure 23 ภาพระบบเปิดปิดทางอ้อม (Indirect Acting หรือ Pilot Operated)
Figure 24 ภาพระบบลูกผสม (Combined Acting หรือ Combine Operated)
Figure 25 ภาพเครื่องฉีดแรงดันสูงระบบปั๊มลูกสูบ
Figure 26 ภาพมอเตอร์เหนี่ยวนำ
Figure 27 ภาพแสดงโซ่ลูกกลิ้งแบบชุดหลายเส้น
Figure 28 ภาพแสดงโซ่โบลต์
Figure 29 ภาพแสดงโซ่ฟันขณะจับลงในล้อโซ่
Figure 30 ภาพเฟืองตรง (Spur Gears)
Figure 31 เฟืองสะพาน (Rack Gears)
Figure 32 ภาพเฟืองวงแหวน (Internal Gears)
Figure 33 ภาพเฟืองเฉียง (Helical Gears)
Figure 34 ภาพเฟืองเฉียงก้างปลา (Herringbone Gears)
Figure 35 ภาพเฟืองดอกจอก (Bevel Gears)
Figure 36 ภาพเฟืองตัวหนอน (Worm Gears)
Figure 37 ภาพเฟืองเกลียวสกรู (Spiral Gears)
Figure 38 ภาพแสดงลักษณะภายนอกแหล่งจ่ายไฟแบบลิเนียร์ (ซ้ายมือ) กับสวิตชิ่ง (ขวามือ)
Figure 39 ภาพแผนผัง Switching Power Supply
Figure 40 ภาพ Switching Power Supply แบบมีฝาครอบ
Figure 41 ภาพ Switching Power Supply แบบเปลือย
Figure 42 ภาพ Switching Power Supply ติดตั้งแบบ Din-Rail
Figure 43 ภาพ Switching Power Supply แบบ Adapter
Figure 44 ภาพมอเตอร์สเต็ปหลาย ๆ รูปแบบ
Figure 45 ภาพโครงสร้าง Stepping Motor
Figure 46 ภาพแผนผังการทำงานของ Stepping Motor
Figure 47 ภาพแสดงรายละเอียดของ Stepping Motor
Figure 48 ภาพแสดงรายละเอียดของ Stepping Motor
Figure 49 ภาพ General Relay
Figure 50 ภาพ Timer Relay
Figure 51 ภาพ Solid State Relay
Figure 52 ภาพ Protection Relay
Figure 53 ภาพการออกแบบผ่านโปรแกรม Solidworks
Figure 54 ภาพการแสดงตำแหน่งที่คิดว่ารับภาระมากที่สุด
Figure 55 ภาพโครงสร้างจากเหล็กกล่อง 1×1 นิ้ว หนา 1.2 mm ในรูปทรงลูกบาศก์
Figure 56 ภาพโครงสร้างยึดล้อกันชนจากเหล็กกล่อง 1×1 นิ้ว หนา 1.2 mm
Figure 57 ภาพเสากลางและฐานวางสตรัทจากเหล็กกล่อง 2×2 นิ้ว หนา 2 mm
Figure 58 ภาพเสากลางและฐานวางมอเตอร์ด้านบนจากจากเหล็กกล่อง 2×2 นิ้ว หนา 2 mm
Figure 59 ภาพเหล็กแบนหน้ากว้าง 50.8 mm หนา 4.7 mm มาประกอบเข้าโครงสร้าง
Figure 60 ภาพรูสลอตและรูน๊อตสำหรับยึดตุ๊กตาลูกปืน 204 ที่ทำจากเหล็กแบนหน้ากว้าง 50.8 mm หนา 4.7 mm
Figure 61 ภาพเหล็กแบนที่ถูกเจาะรูเพื่อใช้ยึกตุ๊กตาลูกปืน 204
Figure 62 ภาพตุ๊กตาลูกปืนเบอร์ 204
Figure 63 ภาพเศษเหล็กมาเจาะรูมาสร้างเป็นฐานยึดมอเตอร์
Figure 64 ภาพเพลาหน้าเชื่อมเข้ากับเหล็กแบน
Figure 65 ภาพการออกแบบผ่านโปรแกรม Solidworks
Figure 66 ภาพขั้นตอนการปริ้น 3D
Figure 67 ภาพชิ้นงานจริง
Figure 68 ภาพโรลใช้ม้วนเก็บสายไฟ
Figure 69 ภาพเฟืองโซ่ขนาด 9 ฟัน
Figure 70 ภาพสเตอร์ขนาด 46 ฟันที่ประกอบเข้ากับแกนเรียบร้อยแล้ว
Figure 71 ภาพฐานยึดที่ทำจากเหล็กแบนเชื่อมกับตัวหัวด้านบน
Figure 72 สเตอร์ขนาด 15 ฟันที่สวมเข้ากับแกนมอเตอร์แล้ว พร้อมใส่โซ่เบอร์ 420
Figure 73 ภาพแท่นยึดมอเตอร์ (ด้านหลัง)
Figure 74 ภาพแขนทั้งสองข้าง พร้อมยึดตุ๊กตาลูกปืนที่ปลายแขน
Figure 75 ภาพแขนกลไกการกระดกหัวฉีดน้ำ
Figure 76 ภาพแท่งสวมที่ทำจากเหล็กฉาก
Figure 77 ภาพแสดงการประกอบแขนทั้งสองข้างเข้ากับแท่งสวม
Figure 78 ภาพตัวยึด encoder
Figure 79 ภาพหลังจากการขัดกระดาษทราย
Figure 80 ภาพการพ่นสี
Figure 81 ภาพอุปกรณ์อื่น ๆ ที่นำมาพ่นด้วย
Figure 82 ภาพหลังจากการประกอบสำเร็จแล้ว
Figure 83 ภาพฐานปั๊มน้ำและแผ่นอลูมิเนียมกั้นห้อง
Figure 84 ภาพขายึดเอนโค้ตเดอร์ที่ใช้กับมอเตอร์ขับเคลื่อน
Figure 85 ภาพท่อน้ำเข้า,โซลินอยล์วาล์วและสายทนแรงดัน
Figure 86 ภาพโคฟเวอร์ที่ทำจากอะครีลิค
Figure 87 ภาพโคฟเวอร์ด้านบน
Figure 88 ภาพการจัดวางตำแหน่งอุปกรณ์ต่างๆ โดยใช้โปรแกรม Solidworks
Figure 89 ภาพการเขียนแผนผังสายไฟ โดยใช้โปรแกรม Autocad
Figure 90 ภาพการเขียนแผนผังสายสัญญาณ โดยใช้โปรแกรม Autocad
Figure 91 ภาพระหว่างการลงมือวางอุปกรณ์
Figure 92 ภาพแผลงอุปกรณ์นำเข้าไปติดตั้งในเครื่องฉีดล้างโรงเรือนสุกร
Figure 93 ภาพโปรแกรม LabVIEW 2017 myRIO
Figure 94 ภาพหน้าหลังจากกดเลือก Project
Figure 95 ภาพหลังจากกดเลือก myRIO Project
Figure 96 ภาพการเชื่อมต่อตัวควบคุม myRIO
Figure 97 ภาพการสร้าง New VI
Figure 98 ภาพหน้า Panel กับ Block Diagram
Figure 99 ภาพคำสั่งต่างๆที่เขียนใส่ลงบน Block Diagram
Figure 100 ภาพของคำสั่งในการทำงานของแต่ละอุปกรณ์
Figure 101 ภาพคำสั่งของ มอเตอร์ 500 W
Figure 102 ภาพคำสั่งการเปลี่ยนทิศทางการหมุนของมอเตอร์
Figure 103 ภาพคำสั่งของมอเตอร์ 65 W และสวิตช์ ปิด–เปิด การทำงานของ Soleniod
Figure 104 ภาพการควบคุม Stepping Motor
Figure 105 ภาพการควบคุม Joy stick
Figure 106 ภาพของโหมด Auto และ Manual
Figure 107 ภาพหน้าการทำงานของ Delay
Figure 108 การทำงานของหน้า Forward และ Check FWD distance
Figure 109 ภาพการเปิดน้ำ
Figure 110 ภาพ Case ของการ Check
Figure 111 ภาพการปิดน้ำ
Figure 112 ภาพคำสั่งของ Joy stick
Figure 113 ภาพการเตรียมตัวก่อนการทดลอง
Figure 114 ภาพการวัดระยะจากจุด Stand by
Figure 115 ภาพการวัดระยะความไกลที่หัวฉีดน้ำ
Figure 116 ภาพซีลโอริงที่ปลิ้นออกมาจากโซลินอยด์ทำให้เกิดการรั่วปิดน้ำไม่ได้
Figure 117 ภาพการรั่วที่สายทนแรงดัน
อุปกรณ์และวิธีการ
ในบทนี้เป็นการกล่าวถึงอุปกรณ์ที่ใช้ในการทำหุ่นยนต์ทำความสะอาดโรงเรือนสุกร โดยมีการออกแบบมาจากปัญหาของเกษตรกรผู้เป็นผู้ประกอบการ อีกทั้งจะกล่าวถึงขั้นตอนการออกแบบและการลงมือปฏิบัติ ซึ่งอุปกรณ์ในการทำงานประกอบด้วย ดังนี้
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติพงษ์ เยาวาจา หัวหน้ากลุ่มวิจัยวิทยาการหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติขั้นสูง และผู้รับผิดชอบหลักสูตรหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ (นานาชาติ) ม.เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา