โครงงานระบบตรวจสอบสินค้าและแสดงผลแบบอัจฉริยะ

โครงงานระบบตรวจสอบสินค้าและแสดงผลแบบอัจฉริยะ

ผู้พัฒนา บริษัท ดิจิทรานส์ โซลูชั่นส์ จำกัด โดย คุณณธร อรุณภู่ และทีมงาน

ทีมที่ปรึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติพงษ์ เยาวาจา
หัวหน้ากลุ่มวิจัยวิทยาการหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติขั้นสูง
และผู้รับผิดชอบหลักสูตรหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ (นานาชาติ)​
คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา

  1. ความเป็นมา
    จากที่ทีมงานของบริษัท เป็นวิศวกรทางด้านวิศวกรรมเครื่องกลซึ่งทำงานใน อุตสาหกรรมยานยนต์มาหลายสิบปีโดยเป็นผู้ที่ทำการตรวจสอบการทำงานของโรงงาน ซึ่งหลังจากที่มีการเกิด CoVID-19 ก็จะพัฒนาการตรวจสอบผ่านระบบออนไลน์
    ซึ่งขั้นตอนที่ 1 พนักงานมีการตรวจสอบเบื้องต้นจากการวัดชิ้นงาน

ขั้นตอนที่ 2 ก็จะมีการเก็บข้อมูลแล้วก็นำมาเทียบว่าผ่านมาตรฐานหรือเปล่า

ส่วนขั้นตอนที่ 3 ก็จะนำมาใส่ข้อมูลเพื่อสร้างเป็นกราฟเพื่อแสดง คุณสมบัติของ ผลิตภัณฑ์ ที่ผลิตได้ต่างๆ เซอร์ ก็จะไปทำกราฟ spc ซึ่งก็จะส่งข้อมูลเข้าอุตสาหกรรมยานยนต์ขนาดใหญ่

ส่วนขั้นตอนที่ 3 มีข้อมูลอีกส่วนหนึ่งที่นำมาวิเคราะห์ผ่านโปรแกรม Microsoft Excel

ซึ่งกระบวนการต่างๆ ช้าและก็ต้องมีการทำงานซ้ำ รวมถึงกระบวนการต่างๆเนี่ยมันเกิดความสูญเสียความล่าช้า ก็ ก็ต้องการทำโปรเจคขึ้นมาใหม่เพื่อทำการทำให้กระบวนการนี้ มีการเก็บข้อมูลและก็แสดงผลได้อย่างฉลาดมากขึ้นโดยได้กราฟที่มีการเคลื่อนไหวหรือมีการอัพเดทข้อมูลอยู่ตลอดเวลา มาวิเคราะห์ในรูปแบบของ SPC

  1. เป้าหมาย
    การนำข้อมูลจากการวัดค่าของแผนกของ QC มาวิเคราะห์ในรูปแบบของ SPC โดยใช้ ภาษา Python เพื่อดูความสามารถของกระบวนการ สร้างกราฟที่มีการเคลื่อนไหวหรือมีการอัพเดทข้อมูลอยู่ตลอดเวลาและมีความเสถียร
  2. ความรู้จากการอบรมที่ใช้ในการพัฒนางาน
    การใช้เครื่องมือวัดขนาดที่มีความทันสมัยโดยใช้เวอร์เนียร์ตัวนี้ก็จะทำการ วัดและส่งข้อมูลผ่านระบบไร้สายหรือผ่านบลูทูธได้ทันที โดยไม่จำเป็นต้องทำการจดข้อมูล โดยใช้การ โดยการกดบันทึกมันก็จะทำการเซฟข้อมูลลงใน Microsoft Excel ได้อัตโนมัติ

ช่วยการทดลองสร้างระบบ ERP เพื่อที่จะเก็บข้อมูลจากการวัดเข้าสู่ฐานข้อมูลซึ่งปัจจุบันเราใช้ของต่างประเทศเราก็จะเปลี่ยนมาสร้างขึ้นมาเองเพื่อให้มันมีต้นทุนในการใช้งานที่ถูกลงมหาศาล โดยทำการทำงานร่วมกับการแสดงผลผ่าน Dashboard เพื่อทำ แสดงผลข้อมูลอย่างรวดเร็วเปลี่ยนแปลงค่าได้อย่างแม่นยำทันที

อุปกรณ์ที่ใช้คือ คอมพิวเตอร์ประมวลผลข้อมูล โดยศึกษาโปรแกรมพื้นฐาน ภาษา Python และ Library Plotly Dashboard

  1. ผลสำเร็จของงานประโยชน์ที่ได้รับ
    การประยุกต์ใช้โปรแกรมอัจฉริยะ การเขียนโปรแกรมภาษา python และ Library Plotly Dashboard โดย Coding จากตัวอย่าง และเปลี่ยนค่าตัวแปล และ Connect API กับ ฐานข้อมูลที่ใช้
    ต่อยอดการเก็บข้อมูลจากเครื่องมือที่ส่งสัญญาณไร้สายเข้าสู่ระบบฐานข้อมูลเพื่อนำมาใช้แสดงผลรวมถึงดัดแปลงโปรแกรม เพื่อให้สามารถทำงานได้ตามที่อุตสาหกรรมนั้นต้องการได้

ซึ่งปัจจุบันมีความต้องการจากโรงงาน โรงงานทางด้านอุตสาหกรรมยานยนต์มากกว่า 1500 โรงงาน สามารถที่จะปรับการทำงานจากการใช้คน เปลี่ยนจากการใช้ควรมาใช้เซ็นเซอร์มากขึ้น และจากการใช้เปลี่ยนจากการใช้ข้อมูล และวิเคราะห์ด้วยคนเปลี่ยนมาใช้เครื่องจักรมากขึ้น ใช้ระบบอัจฉริยะมากขึ้น ซึ่งการลงทุน บางครั้งมันมีต้นทุน แต่บางส่วนนี้สามารถจะทำได้เลยหรือสร้าง Platform ขึ้นมาเพื่อลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานแทน

  1. ผลลัพท์ที่คาดว่าจะได้รับ
  • นำไปประยุกต์ใช้ได้กับโรงงานอุตสาหกรรมในหลายๆ แหล่ง
  • ลดการใช้พนักงานลดลง ลดความผิดพลาดในการเก็บข้อมูล ด้วยการบันทึกข้อมูลโดยตรงจากเครื่องมือแทนการจดด้วยพนักงาน ได้ข้อมูลตรงเวลาสม่ำเสมอ สามารถปรับปรุงการทำงาน
  • การประหยัดค่าใช้จ่ายพนักงาน การลดความผิดพลาดในการทำงาน และการต่อยอดโครงการใหม่จากความรู้ ประมาณการผลกำไรได้ 1,000,000 บาทต่อปี และสามารถต่อยอดเพิ่มได้อีกในอนาคตและขยายผลได้ในขนาดอุตสาหกรรมที่ใหญ่ขึ้น

ทีมที่ปรึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติพงษ์ เยาวาจา
หัวหน้ากลุ่มวิจัยวิทยาการหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติขั้นสูง
และผู้รับผิดชอบหลักสูตรหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ (นานาชาติ)​
คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา

Related Posts

Create Account



Log In Your Account