Thailand Excellence Community
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติพงษ์ เยาวาจา หัวหน้ากลุ่มวิจัยวิทยาการหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติขั้นสูง และผู้รับผิดชอบหลักสูตรหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ (นานาชาติ) ม.เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ศรีราชา
วันที่จัดกิจกรรม 5 กันยายน 2566 ถึง 17 ตุลาคม 2566
1.เพื่อให้เกิดเจตคติที่ดีทางด้านการใช้เครื่องมือวัดและเข้าใจสัญญาณไฟฟ้าเบื้องต้น นิสิตสามารถใช้เครื่องมือวัดและเข้าใจสัญญาณไฟฟ้าเบื้องต้น จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ 40 คน
2.เพื่อให้ความรู้พื้นฐานด้านการออกแบบระบบการวัดและการควบคุมพื้นฐาน นิสิตเข้าใจหลักการพื้นฐานของการออกแบบหุ่นยนต์ ระดับความพึงพอใจ 4
3.เพื่อพัฒนาทักษะที่เกี่ยวข้องด้านการออกแบบระบบการวัดและควบคุม นิสิตสามารถเขียนโปรแกรมการออกแบบ ระบบการวัดและควบคุม ร้อยละของนิสิตที่สามารถเขียนโปรแกรมการออกแบบ ระบบการวัดและควบคุม ร้อยละ 80
5 กันยายน 2566 | 16.00-19.00 แนะนำระบบควบคุมและโปรแกรม |
12 กันยายน 2566 | 16.00-19.00 เชื่อมต่อระบบควบคุมผ่านคอมพิวเตอร์ |
19 กันยายน 2566 | 16.00-19.00 เชื่อมต่อระบบเซนเซอร์และวัดค่าสัญญาณ |
26 กันยายน 2566 | 16.00-19.00 เชื่อมต่ออุปกรณ์และการควบคุม |
3 ตุลาคม 2566 | 16.00-19.00 ทดลองและปรับค่าโปรแกรม |
10 ตุลาคม 2566 | 16.00-19.00 การนำเสนอผลงานระบบการวัดและการควบคุม |
17 ตุลาคม 2566 | 16.00-19.00 นำเสนอผลงานเพิ่มเติม |
#วิศวกรรมเครื่องกลและการออกแบบ
แนะนำระบบควบคุมและโปรแกรม
ใช้งานเครื่องมือวัดพื้นฐาน วงจรไฟฟ้าพื้นฐาน สัญญาณไฟฟ้าพื้นฐาน
วัดค่าอุปกรณ์ไฟฟ้า จดค่าที่ได้และคำนวนหาค่าความผิดพลาดของระบบ [systematic error] แบบ absolute และแบบ relative ค่าความผิดพลาดกันวัดแบบสุ่ม [random error] ไมโครคอลโทรเลอร์และโปรแกรมพื้นฐาน
คนรุ่นใหม่หัวใจโรบอทและเทคโนโลยีสมัยใหม่ ชีวิตดี อนาคตดี ฉลาด ตรงจุด ประเทศไทยพัฒนาก้าวกระโดด ช่วยสังคม ช่วยประเทศ ช่วยกันช่วยคนไทยแบบยั่งยืน ยืนได้ด้วยตัวเองยืนได้ด้วยควาทรู้ควาทเข้าใจ พัฒนาตนเอง life-long learning, projected-based learning. outcome-based. สร้างชุมชนเข้มแข็ง ทรัพยากรบุคคล ทันสมัย ก้าวหน้าก้าวไกล เพื่อคนไทย เพิ่มทักษะการเรียนรู้ในโลกยุคใหม่ แก้ปัญหาการเรียนรู้ทดถอยจากช่วงโควิด
ระบบการวัดทางวิศวกรรม (Project-based Learning) (Oucome-based education) ต่อด้วยวิชาแมคคาโทนิค สร้างเสริมประสบการณ์ด้วยการลงมือทำจริง
>> การใช้ multi-meter อ่านค่าสัญญาณต่างๆ
>> การรับค่าสัญญาณอนาล็อก การแสดงผล
>> การแปลงค่าสัญญาณระดับดิจิทัลกับหน่วยทางวิศวกรรม
>> การสร้าง Statics Calibration Curve จากระบบการวัด เซนเซอร์
ตัวอย่างเซนเซอร์ระบบของไหล นิวเมติกส์ ในออโตเมชั่น ตัวอย่างเซนเซอร์การเคลื่อนที่ ระบบหุ่นยนต์ในภาคอุตสาหกรรม
ลงมือปฎิบัติกัน 3 ชม. รอบที่ 5 ครบเดือนแล้ว
จากนิสิตรุ่น Covid 100% พื้นฐานขาดหายไป
จากไม่รู้จักไม่เข้าใจ ตอนนี้ได้ลงมือทำ ได้เข้าใจจากการปฎิบัติ ได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ตอนนี้ดีทำได้แล้ว
เริ่มจากการใช้เครื่องวัดพื้นฐาน
การเขียนโปรแกรมไมโครคอลโทรเลอร์
การเก็บผลแสดงผลแบบคงตัว
การดูพฤติกรรมระบบเซนเซอร์
calibration และ characteristic curve
ตอนนี้มาถึง dynamic behavior แล้ว
การวิเคราะห์ sensor response ของเซนเซอร์
สามารถเขียนโปรแกรมประยุกต์กับโจทย์การใช้งานจริงเองได้แล้ว
อบรมระบบการวัดทางวิศวกรรมและการควบคุมอัตโนมัติ วิศวกรรมเครื่องกลและการออกแบบ รอบนี้สามารถหาข้อมูลกันได้เอง ใช้โค้ดโปรแกรมจากไลบารี่ต่างๆ ให้เหมาะสม เลือกช่องสัญญาณไฟฟ้าที่เหมาะสม ต่อผิดๆ ถูกๆ กันบ้างก็เจอปัญหาบอร์ดร้อนไหม้ เสียหาย แต่ก็ได้ประสบการณ์กัน แจกอุปกรณ์ไปทดลองต่อที่บ้านกันสนุกสนานละครับ
นำเสนอโครงงานทางวิศวกรรมกัน
ระบบการวัดและการควบคุมอัตโนมัติ
ศึกษาการเขียนโปรแกรม Arduino
ศึกษาเซนเซอร์ และค่าความผิดพลาดระบบ
สัญญาณไฟฟ้าต่างๆ และการประยุกต์ใช้
วิศวกรรมเครื่องกลและการออกแบบ
Project-based, Flip Classroom
ผลงานน้องวิศวกรปีนี้ยังไม่ค่อยได้อัพลงเวป https://gulfthai.com/?page_id=1206
เพจหน้าเวป ตย. วีดีโอนำเสนองานนิสิต
31 ตุลาคม 2566
นำเสนอโครงงานทางวิศวกรรมกัน
ระบบการวัดและการควบคุมอัตโนมัติ
ศึกษาการเขียนโปรแกรม Arduino
ศึกษาเซนเซอร์ และค่าความผิดพลาดระบบ
สัญญาณไฟฟ้าต่างๆ และการประยุกต์ใช้
วิศวกรรมเครื่องกลและการออกแบบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติพงษ์ เยาวาจา หัวหน้ากลุ่มวิจัยวิทยาการหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติขั้นสูง และผู้รับผิดชอบหลักสูตรหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ (นานาชาติ) ม.เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ศรีราชา