โครงการอบรม Artificial Intelligent Robot (Part 2)

โครงการอบรม Artificial Intelligent Robot (Part 2)

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติพงษ์ เยาวาจา หัวหน้ากลุ่มวิจัยวิทยาการหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติขั้นสูง และผู้รับผิดชอบหลักสูตรหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ (นานาชาติ)​ คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา ม.เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา

โครงการอบรม Artificial Intelligent Robot (Part 1)

โครงการอบรม Artificial Intelligent Robot (Part 2)

โครงการอบรม Artificial Intelligent Robot (Part 3)

Artificial Intelligent Robot Project 2020

ผลลัพธ์การเรียนรู้

เต็มอิ่ม​ สนุกมากเลย มาเรียนกันครบเลยครับ​ ว่าด้วยเรื่องของการควบคุมระบบต่างๆ​ มันอยู่ในชีวิตเราตลอด​ เครื่องจักรต่างๆ​ หุ่นยนต์​ ต้องใช้…กับวิชา Fuzzy​ Logic​ and Intelligent Control System. #upskill… เพิ่มความรู้ให้นักพัฒนาคนไทยเพื่อสร้างระบบ​ AI​Robot​ ในอนาคต​ AI​ รองรับวิทยาการใหม่ๆ​ เทคโนโลยีล้ำหน้า​ 5G​ กับ​ EEC… วันนี้ได้ประมวลจากความรู้จริงจากงานนวัตกรรมหลายๆงาน​ ก็รวมกว่า​ 10 อย่าง​ มูลค่ารวมๆ​ หลายร้อยล้านบาท​ และรวมถึงงานภาคอุตสาหกรรม​ที่ได้พัฒนาต่อยอด… การแลกเปลี่ยน​ สอนอบรมความรู้เพื่อต่อยอดให้คนไทยนำไปขยายผลได้อีกหลายสิบเท่า​ … อันนี้คือโจทย์ในการพัฒนาประเทศอีกร้อยปี​ มันก็ยังมี AI​ Robot​ และจะมากขึ้นเรื่อยๆ​ แบบก้าวกระโดดและเหาะบิน ….พัฒนากันวันนี้เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้ประเทศไทยอีกหลายล้านล้านบาท​ ในเร็ววันเด้อ#บัณฑิตพันธุ์ใหม่#KU ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติพงษ์ เยาวาจา 

EEC​ เกษตร​ ศรีราชา เรียนสนุกๆ​ ครับ เคร่งเครียดกันเชียว#บัณฑิตพันธุ์ใหม่#KU.. เตรียมหัวข้อวิจัยพรุ่งนี้… ​งานวิจัยต้องพัฒนาความรู้ใหม่​ ไม่ซ้ำเก่า​ ในงานวิจัยมีทั้งแบบพัฒนาทฤษฎีใหม่​ หรืองานวิจัยประยุกต์​ คือเอาทฤษฎีเดิมนำมาปรับปรุงให้เหมาะสมกับระบบที่เราสนใจ… งานวิจัยที่อ่าน​ เขียนเมื่อใด​ งานวิจัยที่นำมาอ้างอิงในการวางแผนการวิจัยควรเป็นงานวิจัยใหม่​ (ไม่เกิน​ 5 ปี)​.. งานวิจัยนี้เขียนโดยใคร​ สังกัดหน่วยงานไหน​ มีความน่าเชื่อถือมากน้อยอย่างไร… งานวิจัยนี้นี้อยู่ในฐานข้อมูลใด​ มีความน่าเชื่อถือหรือไม่… งานวิจัยที่อ่านเป็นงานวิจัยที่พัฒนาความรู้ใด​ ซ้ำหรือแตกต่างจากเดิมอย่างไร… งานวิจัยมีความต่อเนื่องกันอย่างไร​ มีส่วนใดที่เหมือนกัน​ หรือแตกต่างกันอย่างไร… งานวิจัยนี้ใช้เครื่องมือการวิจัยที่เหมาะสมหรือไม่… งานวิจัยนี้มีวิธีการถูกต้อง​ หรือเหมาะสมหรือไม่… กระบวนการที่ใช้วิธีวิจัยมีจุดเด่นและจุดด้อยอย่างไร… การแสดงข้อมูลเหมาะสมหรือไม่​… การวิเคราะห์ผลข้อมูลถูกต้องหริอเหมาะสมหรือไม่… การสรุปผลดีหรือไม่… จากผลการทดลองสามารถนำไปใช้หรืออ้างอิงหรือต่อยอดอย่างไรได้บ้าง//การเขียนการเรียบเรียงการเขียนเป็นสุดยอด​ skill วิวัฒนาการของมนุษย์​ทำให้คนเราเจริญได้ถึงทุกวันนี้​ การพูดสามารถทำให้คนสื่อสารได้​ดี แต่การเขียนทำให้เราวามารถสื่อสารให้เข้าใจตรงกันได้แบบละเอียด​ แม่นยำ​ และรวดเร็ว​ คนที่อ่านนิยายสามารถเข้าใจตรงกันสมการคือภาษาทางคณิตศาสตร์​ วิทยาศาสตร์การวิจัยใช้การอ่านและการเขียนเป็นหลักในบทความที่เราอ่าน​ แต่ละคนอาจจะสนใจเนื้อหาในประเด็นที่แตกต่างกันออกไป​แต่เราควรหยิบประเด็นที่มีความสำคัญ​ มีข้อมูลที่แสดงได้ชัดเจน//แบบฟอร์มการเขียนวิทยานิพนธ์การใช้​ Microsoft words ในการสร้าง​ Style ในการเขียนเนื้อหา​ สมการ​ รูปภาพ​การสร้างการเชื่อมโยง​ Caption และการอ้างถึงแบบอัตโนมัติใน​ Microsoft Word ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติพงษ์ เยาวาจา 

วันนี้อบรมทีม​ AI​ system designer สำหรับเชื่อมต่อกับหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติต่อด้วยการทำระบบ​ Learning​ System​ จากที่เเมื่อก่อนประเทศ​มหาอำนาจตะวันตกปรับชาวนา​ เกษตรกรจาก​ 40% ของประเทศเหลือแค่​ 2% โดยใช้เครื่องจักรทดแทนแรงงาน​ แล้วได้ผลผลิตเท่าเดิม​ ประเทศมหาอำนาจเปลี่ยนการทำงาานปรับมาในรูป high skill เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ​จาก​ 25.2% เป็น​ 38.6% ของจำนวนประชากร​ ในระหว่างปี​ 1979-2016 และสร้างสินค้าและนวัตกรรมใหม่​ ประเทศไทยไม่มีเทคโนโลยีของตัวเอง​ เลยปรับชาวนามาเป็นคนงานในการผลิต​ให้ต่างประเทศ เพราะได้ค่าแรงมากกว่าในยุคที่หุ่นยนต์มาแล้ว​ บางคนก็ว่าคนจะตกงาน​ บางคนว่าคนมีงานอื่นให้ทำ​ แต่ตอนนี้ยังไม่ทันไรคนตกงานหลายล้าน​ โรงงานย้ายหนีคนไทย​ เพราะความขยันและผลงานสู้เพื่อนบ้านไม่ได้​ ค่าแรงแพงแต่ความสามารถทางเทคโนโลยียังไม่ถึงขั้นไหน​ โลกเราตอนนี้พัฒนาไปมากแล้ว​ สิ่งที่จะเกิดขึ้นคือคนทำงานน้อยลง​ มีเครื่องทุ่นแรงเยอะ​ แต่ที่เป็นปัญหาคือ​ เทคโนโลยีทุกอย่างดันเป็นของต่างชาติหมด​ในประเทศไทย​ ภาคเกษตรมีคนทำงาน​ 10 ล้านกว่าคน ภาคการผลิตมีคนทำงานเกือบ​ 10 ล้านคน​ ​ ขายของต่าง​ๆ 6 ล้านคน​ บริการรวมๆ​ อีกราว​ 10 ล้าน ซึ่งรวมพนักงานรัฐ 3 ล้านคน​ นอกจากนั้นทำงานบ้าน​ 5 ล้าน​ เรียน​ 5 ล้าน​ ชรา​ 9​ ล้านด้วยระบบออโตเมชั่น​ ภาคการผลิตอาจจะหายไปได้เยอะใน​ 10 ปี​ ราว​นับล้านคนภาคขายของหายไปครึ่งนึงจากระบบ​อัตโนมัติ​ ภาคบริการสามารถลดลงได้​ จากการท่องเที่ยวทรุด​ จะเห็นคนกลับบ้านไปทำเกษตรกันแล้วอาจจะมีหลายล้านคนที่กลับไปเกษตร​ และหาอาชีพที่ต้องการไม่ได้​ เมื่อจำนวนงานที่ลดลง​ และงานเข้มข้นขึ้น​ สำหรับประเทศไทย​ต้องวางแผนอาชีพให้คนไทยทุกระดับ​ สร้างการพึ่งพาตัวเอง​ และสร้างมูลค่าในตลาดโลกให้ได้ด้วย​ ดึงศักยภาพของคนไทยทั้งหมดแก้ไขได้​ ด้วยการเริ่มวางแผนล่วงหน้า​ 10-20 ปีการจะเพิ่ม​ GDP​ ประเทศที่รอแต่ปัจจััยภายนอก​ช่างน่าเห็นใจจริงๆลงทะเบียน ไปเที่ยวสวนนงนุชกันครับ งาน Automation Expo 2020https://www.automation-expo.asia/aex1201/ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติพงษ์ เยาวาจา 

คนทั่วไปบอกว่า​ หลักการของ​ AI​ เอาข้อมูลมาเทรน​เยอะๆ​ แล้วต่อมาก็บอกว่าข้อมูลคือพระเจ้า​ ใครมีข้อมูลเยอะชนะสรุปให้นักเรียนฟัง​ สร้าง​ AI​ คือสร้างระบบตัดสินใจ​ … เขียนโปรแกรมให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้ดี​ ทำงานได้ดีจนทดแทนสมองมนุษย์ได้… หรือเอาโปรแกรมมาใช้โดยกำหนดตั้งค่าการทำงานให้เหมาะสม… หลักการที่สำคัญคือการสอนคอมพิวเตอร์ให้เรียนรู้​ เพื่อให้ฉลาดคนก็เหมือนกัน​ต้องเรียนรู้ เราสามารถเรียนรู้ได้จากหลายทาง​ การเรียนรู้จากผู้อื่น​ การเรียนรู้ด้วยตัวเอง​ การเรียนรู้จากประสบการณ์สำหรับหลักการ​ Fuzzy​ Logic​ เป็นเหมือนสมองตัวหนึ่งที่ทำให้คอมพิวเตอร์สามารถตีความจากคำพูดของคนได้เราใช้กระบวนการ​ 3 ขั้นตอน​ คือ1.แปลงข้อมูลเป็นข้อความ2.ใช้เหตุผลหาคำตอบ3.ตีความเป็นผลลัพธ์ดูแล้วคอมพิวเตอร์จะคิดเหมือนความคิดคนไหม​ แม้ทุกขั้นตอนจะเป็นตัวเลขแต่นักเรียนวิศวกรสามารถเข้าใจได้​ .. คลาสเราหลายสิบคนตั้งแต่​ 22-60​ ปี​ เราจะมีผู้อาวุโสไว้​ 1 คน​ บางท่านอนาคตไกล​ บางท่านอนาคตใกล้​ (เรื่องดีๆมาถึงเร็ว)​ … ผู้อาวุโสบอกว่า​ ทุกท่านคือนักสร้าง​ ทุกท่านพยายามมาเรียนอย่างขยันในวันหยุดอย่างโหด​ ใช้เวลา​ ใช้ความพยายาม​ เดินตามหาโอกาส​จนเจอ… และเป็นเรื่องที่ดี​มาก แต่ซึ่งเมื่อก่อนคนไทยแทบไม่มีโอกาส​ ความรู้เข้าถึงยากมากๆๆ​ คนวัยกลางคนขึ้นไปน่าจะเห็นด้วยไหมครับการปรับค่า​ AI​ ที่สอนเราสามารถสร้างจากศูนย์​ ไม่จำเป็นต้องใช้ฟังก์ชั่นสำเร็จรูป​ การปรับพารามิเตอร์​ membership ขาเข้าและการออก หรือปรับค่ากระบวนการคิดของ​ AI​ โดยการสอนจากข้อมูลการควบคุมด้วยระบบไฟฟ้า​ ระบบฝังตัว​ ควบคุมเรียลไทม์​ ระบบแมคคาทรอนิก ระบบอัตโนมัติ​ หุ่นยนต์​ สมองกล​ Fuzzy​ Logic​ สำหรับปรับตัวได้​ เรียนรู้จากการปรับค่าพารามิเตอร์​ การปรับค่ากฎ​ Logic โปรแกรมอัจฉริยะ​ การควบคุมเครื่องจักร​ PLC​ HMI​ IIoT​ Cloud นักเรียนที่นี้ได้ทำหมดแล้วสัปดาห์หน้าจะเป็นเรื่องของ​ Deep​ Learning​ การเชื่อมต่อกับระบบกล้อง​ ได้อาจารย์ในแลป​ Robot​ ของเรา​ หรือ​ fb.com/RAAS.rg มาสอนให้​ ซึ่งนักเรียนหลายคนคาดหวังเรื่องการเอาภาพมาแก้ไขปัญหาในโรงงานและงานที่เจอมากๆลงทะเบียน ไปเที่ยวสวนนงนุชกันครับ งาน Automation Expo 2020https://www.automation-expo.asia/aex1201/ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติพงษ์ เยาวาจา 

The Must! ถ้าคุณจะก้่าวจากโลกเก่่าไปสู่โลกใหม่​ วิศวกรทุกคนต้องใช้หุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติเป็น​ แนะนำเรื่อง​ Collaborative Robot​ และ​ Motion​ Control​ สำหรับสร้างหุ่นยนต์ใช้ในโรงงาน​ครับ​ เพราะหุ่นยนต์คือเทคโนโลยีใหม่ๆ​ ทุกโรงงานต้องปรับตัว#ใช้โรบอทครับ​ทำงานสบายๆ​ด้วยหุ่นยนต์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติพงษ์ เยาวาจา 

ประเทศไทยจะก้าวหน้าไม่ใช่เพราะไปทำงานเฝ้าสายการผลิตในโรงงาน​ แต่คือการสร้างต้นแบบใหม่​ อะไรที่ใหม่มีมูลค่า​มีราคา​ อะไรที่เก่าล้าหลังไม่มีใครต้องการสร้างต้นแบบง่ายๆ​ เริ่มจากสร้างแบบสามมิติ​ จำลองในโปรแกรม​ และขึ้นต้นแบบภายในวันเดียวเสร็จ​ นี่คือที่หลักสูตรใหม่ที่เปิดสอน#ใช้โรบอทครับทำงานสบายๆ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติพงษ์ เยาวาจา 

ลงชื่อเรียนฟรี​ หลักสูตร​ Artificial​ Intelligent​ Robotดียังไงก็สอนให้ทำเป็นหมด​ เรียน​เร็ว​ สร้างผลงานก่อนPLC​ HMI​ IIoT​ Cloud.Control​ Signal AI Fuzzy Logic. Python Vision​ Deep​ Learning.Industrial​ Robot, 10 mini Projects. หลังจากเรียนกันมาครบ​ 1 เทอม​ นักเรียนกว่า​ 30​ คน​ ส่วนใหญ่เป็นวิศวกรในบริษัทชั้นนำ​ 20​ กว่าบริษัทกลุ่มนี้สร้างต้นแบบระบบอัจฉริยะสำหรับตรวจสอบและควบคุมในโรงงานผลิตยาhttps://gulfthai.com/?p=2637#บัณฑิตพันธุ์ใหม่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติพงษ์ เยาวาจา 

กลุ่มออกแบบระบบตรวจจับและประมวลผลด้วยแยกแยะวัตถุต่างๆ Deep​ Learning​ และเก็บตกบรรยากาศ​ ลงชื่อเรียนฟรี​ หลักสูตร​ Artificial​ Intelligent​ RobotPLC​ HMI​ IIoT​ Cloud.Control​ Signal AI Fuzzy Logic. Python Vision​ Deep​ Learning.Industrial​ Robot, 10 mini Projects. https://gulfthai.com/?p=2637#บัณฑิตพันธุ์ใหม่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติพงษ์ เยาวาจา 

ประยุกต์ระบบอัตโนมัติ​จากสามคนที่มีสามความเชี่ยวชาญ การตรวจสอบวัตถุจากเซนเซอร์​ ควบคุมความเร็วการทำงานของสายพาน​ ตรวจจับภาพด้วย​ Python​ ผ่าน​ Raspberry PI4 และส่งข้อมูลการควบคุมจากระบบเรียลไทม์​ ผ่าน​ PC​ LabVIEW ด้วยคำสั่ง http เข้าสู่​ Server​ และเรียกข้อมูลเข้า​ Node​Red​ เพื่อนำมาประมวลผลและเข้าถึงข้อมูลได้ทันที ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติพงษ์ เยาวาจา 

5G​ Sandbox​ ที่แรกของประเทศไทยลงชื่อเรียนฟรี​ หลักสูตร​ Artificial​ Intelligent​ RobotPLC​ HMI​ IIoT​ Cloud.Control​ Signal AI Fuzzy Logic. Python Vision​ Deep​ Learning.Industrial​ Robot, 10 mini Projects. https://gulfthai.com/?p=2637#บัณฑิตพันธุ์ใหม่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติพงษ์ เยาวาจา 

คุณอาและหลานเจ้าของบริษัทผลิตเครื่องจักรต่างๆ​ เริ่มศึกษาโรบอทเพื่อปรับตัวธุรกิจ​ ตั้งใจเดินทางจากปทุมธานีเพื่อรับความรู้ใหม่ๆ​ เพื่อต่อยอดทางธุรกิจ​นำระบบ​ AI​​ Fuzzy​ Logic​ เข้ามาปรับกระบวนตรวจสอบและคิด​ร่วมกับระบบตรวจจับภาพ​Pattern Matching​ ตรวจสอบภาพ​ สร้าง​ Template ภาพจากการจดจำภาพใหม่​ ใส่ภาพลุงพลเข้าไปแค่​ 5 ภาพเพื่อตรวจใบหน้า​ ตรวจสอบหน้ากากอนามัยแบบทันที​ เรียก​ Python​ จาก​ LabVIEW สบายๆ​ จัดไปคุณหลานสนใจเรียนต่อ​ ป.โท​ ภาคพิเศษ​ ที่​ ม.เกษตร​ บางเขน​ กำลังสมัครเรียน แล้วพบกันที่บางเขนลงชื่อเรียนฟรี​ หลักสูตร​ Artificial​ Intelligent​ RobotPLC​ HMI​ IIoT​ Cloud.Control​ Signal AI Fuzzy Logic. Python Vision​ Deep​ Learning.Industrial​ Robot, 10 mini Projects. https://gulfthai.com/?p=2637#Robot#หุ่นยนต์#โรบอทครับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติพงษ์ เยาวาจา 

เครื่อง​ Scan เท้า​ ตรวจสอบการถ่ายเทน้ำหนักลงพื้น​ ตรวจสอบการยืนด้วยท่าทางที่เหมาะสม​ พัฒนาระบบโปรแกรมติดต่อรับข้อมูลจากอุปกรณ์และเซนเซอร์ภายนอก​ #RAAS.​ กลุ่มวิจัยวิทยาการหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติขั้นสูงลงชื่อเรียนฟรี​ หลักสูตร​ Artificial​ Intelligent​ RobotPLC​ HMI​ IIoT​ Cloud.Control​ Signal AI Fuzzy Logic. Python Vision​ Deep​ Learning.Industrial​ Robot, 10 mini Projects. https://gulfthai.com/?p=2637#Robot#หุ่นยนต์#โรบอทครับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติพงษ์ เยาวาจา 

ทำงานจริงเรียนแบบจริงๆ​งานศึกษาระบบอัตโนมัติ​ Deep​ Learning​ AI​ สำหรับตรวจสอบอุปกรณ์​ PPE และโครงการควบคุมอุปกรณ์​และเครื่องจักรผ่าน IoT​ โดยการทดสอบจริงผ่าน​ Cloud Raspberry PI4​ และอุปกรณ์​ Node​ MCUลงชื่อเรียนฟรี​ หลักสูตร​ Artificial​ Intelligent​ RobotPLC​ HMI​ IIoT​ Cloud.Control​ Signal AI Fuzzy Logic. Python Vision​ Deep​ Learning.Industrial​ Robot, 10 mini Projects. https://gulfthai.com/?p=2637#Robot#หุ่นยนต์#โรบอทครับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติพงษ์ เยาวาจา 

เรียนฟรีคับ​ ติดตามลงเรียนฟรี​ฟรีค่าเรียนมูลค่ามหาศาล​ พร้อมรับใบประกาศนียบัตร​ Non-degree ด้านหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ​ รับรองหลักสูตรจากสำนักงานอุดมศึกษาตัวอย่าง​ นักเรียนศึกษาจากการควบคุมจริงในกระบวนการผลิตอาหาร​ที่โรงงาน​ CPF ใช้ระบบอัจฉริยะ​อย่าง​ Fuzzy​ Logic​ เข้าไปเพิ่มประสิทธิภาพ​แล้ว​ หวังว่าจะได้เครื่องจักรที่มีประสิทธิภาพฝีมือคนไทยลงชื่อเรียนฟรี​ หลักสูตร​ Artificial​ Intelligent​ RobotPLC​ HMI​ IIoT​ Cloud.Control​ Signal AI Fuzzy Logic. Python Vision​ Deep​ Learning.Industrial​ Robot, 10 mini Projects. https://gulfthai.com/?p=2637#Robot#หุ่นยนต์#โรบอทครับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติพงษ์ เยาวาจา 

เสร็จแล้วต้นแบบ​ จากกระบวนผลิตที่ใช้แรงงานอาจมีการผิดพลาดอยู่บ่อยครั้งทำให้สินค้าไม่มีคุณภาพ​ ราคาต่ำ​ เราใช้ระบบตรวจสอบผ่านคอมพิวเตอร์เพื่อควบคุมสินค้า​ Made in Thailand. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติพงษ์ เยาวาจา 

เรียนอะไรดี​ ยุคนี้ต้อง​ AI​ Robot ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติพงษ์ เยาวาจา 

เก็บตกภาพดัดแปลงหุ่นยนต์ใหม่​ จากเวอร์ชั่นของเล่นเป็นของจริง​ ภาพคละๆกันไป ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติพงษ์ เยาวาจา 

ทีมผู้บริหาร​ Celestica​ และที่ปรึกษา​เก่า​ มาอัพเดทความรู้​ด้าน​ AI​ กัน​ แลกเปลี่ยนแนวทางในการพัฒนาปรพเทศมีน้องอีกท่านจาก​ SCG​ R&D ที่ศึกษาด้วย​ Fuzzy​ ในกระบวนการผลิต ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติพงษ์ เยาวาจา 

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติพงษ์ เยาวาจา
หัวหน้ากลุ่มวิจัยวิทยาการหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติขั้นสูง
และผู้รับผิดชอบหลักสูตรหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ (นานาชาติ)​
คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา

Related Posts

Create Account



Log In Your Account